ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

โปรเจค Arduino เปิดปิดไฟ ด้วย Windows Application


ใช้ Windows Application เปิดปิดไฟ ผ่าน Serial Port

เรียนรู้วิธีควบคุม Arduino  ด้วย Windows Application ที่เขียนจาก Visual Basic 2010 Express ในระบบปฏิบัติการ Windows  โดยเราจะควบคุม การ เปิดปิดไฟ จาก Windows Application  ชื่อ  Arduino LED 4 ส่งค่าผ่าน Serial Port ไปยัง บอร์ด Arduino  และ เมื่อบอร์ด Arduino อ่านค่าได้ ให้แสดงผล ตามโค้ดที่เราเขียนไว้ ด้วย หลอดไฟ LED 12 V


1. Arduino UNO R3

2. Sensor Shield V 5.0

3. สาย Jumper Female to Female ยาว 20cm.

4. Relay 4 Channel DC 5V High Level Trigger

5. รางถ่าน AA 8 ก้อน 12 โวลต์

6. แจ๊กขั้วถ่าน 9 โวลต์ สำหรับ Ardiuno

7. สายไฟแดงดำ ขนาด 22AWG

8. หลอดไฟ LED 12 V


ขั้นตอนการทำงาน

1. เชื่อมต่อ Relay เข้ากับ Sensor Shield V5.0

     Shield  <->  Relay

      4        <->    IN4
      5        <->    IN3
      6        <->    IN2
      7        <->    IN1
      G       <->    GND
      V        <->    VCC



2.อัพโหลดโปรแกรม เข้า บอร์ด Arduino



int ledPin1 = 7;

int ledPin2 = 6;

int ledPin3 = 5;

int ledPin4 = 4;


void setup() {


  Serial.begin(9600);



  pinMode(ledPin1, OUTPUT);

  pinMode(ledPin2, OUTPUT);

  pinMode(ledPin3, OUTPUT);

  pinMode(ledPin4, OUTPUT);


  digitalWrite(ledPin1, LOW);

  digitalWrite(ledPin2, LOW);

  digitalWrite(ledPin3, LOW);

  digitalWrite(ledPin4, LOW);


}


void loop() {


  while (Serial.available() == 0);


  int val = Serial.read() - '0';


  if (val == 1) {


    digitalWrite(ledPin1, HIGH);


  }


  else if (val == 2) {



    digitalWrite(ledPin2, HIGH);


  }


  else if (val == 3) {


    digitalWrite(ledPin3, HIGH);



  } else if (val == 4) {


    digitalWrite(ledPin4, HIGH);


  } else if (val == 5) {


    digitalWrite(ledPin1, LOW);


  } else if (val == 6) {


    digitalWrite(ledPin2, LOW);


  } else if (val == 7) {


    digitalWrite(ledPin3, LOW);


  } else if (val == 8) {


    digitalWrite(ledPin4, LOW);


  } else if (val == 9) {


    digitalWrite(ledPin1, LOW);

    digitalWrite(ledPin2, LOW);

    digitalWrite(ledPin3, LOW);

    digitalWrite(ledPin4, LOW);


  } else {


  }


  Serial.flush();


}






3.  ใช้คอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการ Windows ดาวน์โหลด Windows Application ชื่อ  Arduino LED 4 จาก


https://drive.google.com/open?id=1d70B2sGeEKkT3OC-HuQr7yQgcFI9CbTq

คลิก Download



คลายซิป แล้ว คลิกที่ ไฟล์ setup เพื่อทำการติดตั้งโปรแกรม



คลิก Install


หน้าตาของโปรแกรม



ตรวจสอบว่า Arduino ของเราใช้ Com Port อะไร เช่น ในตัวอย่างเป็น COM6

(แต่ละเครื่อง Com Port จะไม่เหมือนกัน ถ้าเลือกไม่ถูกต้องโปรเจคจะไม่ทำงาน)




คลิกเลือก ดรอปดาวน์ Com Port ให้ตรงกับ Port ของ Arduino ของเรา ในตัวอย่างก็คือ COM6






โค้ด Visual Basic


Imports System.IO

Imports System.IO.Ports

Imports System.Threading

Public Class Form1
    Shared _continue As Boolean

    Shared _serialPort As SerialPort

    Private Sub Form1_Load(ByVal sender As System.Object, ByVal e As System.EventArgs) Handles MyBase.Load

        Me.ComboBox1.Items.Add("COM1")
        Me.ComboBox1.Items.Add("COM2")
        Me.ComboBox1.Items.Add("COM3")
        Me.ComboBox1.Items.Add("COM4")
        Me.ComboBox1.Items.Add("COM5")
        Me.ComboBox1.Items.Add("COM6")
        Me.ComboBox1.Items.Add("COM7")
        Me.ComboBox1.Items.Add("COM8")
        Me.ComboBox1.Items.Add("COM9")
        Me.ComboBox1.Items.Add("COM10")
        Me.ComboBox1.Items.Add("COM11")
        Me.ComboBox1.Items.Add("COM12")
        Me.ComboBox1.Items.Add("COM13")
        Me.ComboBox1.Items.Add("COM14")
        Me.ComboBox1.Items.Add("COM15")
        Me.ComboBox1.Items.Add("COM16")
        Me.ComboBox1.Items.Add("COM17")
        Me.ComboBox1.Items.Add("COM18")
        Me.ComboBox1.Items.Add("COM19")
        Me.ComboBox1.Items.Add("COM20")
        Me.ComboBox1.Items.Add("COM21")
        Me.ComboBox1.Items.Add("COM22")
        Me.ComboBox1.Items.Add("COM23")
        Me.ComboBox1.Items.Add("COM24")
        Me.ComboBox1.Items.Add("COM25")


        SerialPort1.Close()

        SerialPort1.PortName = ComboBox1.Text

        SerialPort1.BaudRate = 9600

        SerialPort1.DataBits = 8

        SerialPort1.Parity = Parity.None

        SerialPort1.StopBits = StopBits.One

        SerialPort1.Handshake = Handshake.None

        SerialPort1.Encoding = System.Text.Encoding.Default
    End Sub

    Private Sub ButOn1_Click(ByVal sender As System.Object, ByVal e As System.EventArgs) Handles ButOn1.Click
        SerialPort1.Open()

        SerialPort1.Write("1")

        SerialPort1.Close()
    End Sub

    Private Sub ButOn2_Click(ByVal sender As System.Object, ByVal e As System.EventArgs) Handles ButOn2.Click
        SerialPort1.Open()

        SerialPort1.Write("2")

        SerialPort1.Close()


    End Sub

    Private Sub ButOn3_Click(ByVal sender As System.Object, ByVal e As System.EventArgs) Handles ButOn3.Click
        SerialPort1.Open()

        SerialPort1.Write("3")

        SerialPort1.Close()
    End Sub

    Private Sub ButOn4_Click(ByVal sender As System.Object, ByVal e As System.EventArgs) Handles ButOn4.Click
        SerialPort1.Open()

        SerialPort1.Write("4")

        SerialPort1.Close()
    End Sub

    Private Sub ButAllOff_Click(ByVal sender As System.Object, ByVal e As System.EventArgs) Handles ButAllOff.Click
        SerialPort1.Open()

        SerialPort1.Write("9")

        SerialPort1.Close()
    End Sub

    Private Sub ButOff1_Click(ByVal sender As System.Object, ByVal e As System.EventArgs) Handles ButOff1.Click
        SerialPort1.Open()

        SerialPort1.Write("5")

        SerialPort1.Close()
    End Sub

    Private Sub ButOff2_Click(ByVal sender As System.Object, ByVal e As System.EventArgs) Handles ButOff2.Click
        SerialPort1.Open()

        SerialPort1.Write("6")

        SerialPort1.Close()
    End Sub

    Private Sub ButOff3_Click(ByVal sender As System.Object, ByVal e As System.EventArgs) Handles ButOff3.Click
        SerialPort1.Open()

        SerialPort1.Write("7")

        SerialPort1.Close()
    End Sub

    Private Sub ButOff4_Click(ByVal sender As System.Object, ByVal e As System.EventArgs) Handles ButOff4.Click
        SerialPort1.Open()

        SerialPort1.Write("8")

        SerialPort1.Close()
    End Sub


    Private Sub ComboBox1_SelectedIndexChanged(ByVal sender As System.Object, ByVal e As System.EventArgs) Handles ComboBox1.SelectedIndexChanged
        SerialPort1.PortName = ComboBox1.Text
    End Sub


End Class



แล้วทดสอบการทำงาน ดูผลลัพธ์ ที่ LED ของ Relay

โดย ที่ PWR (สีแดง) จะติดตลอดเวลา และ LED1-4 (สีเขียว) จะติดเมื่อเราคลิกที่ปุ่มต่างๆของ Windows Application 



4. ตัดแจ๊กขั้วถ่านออก แล้วเชื่อมต่อ แจ๊ก เข้ากับ รางถ่าน แล้วจึงเสียบเข้า บอร์ด Arduino เพื่อเป็นไฟเลี้ยงบอร์ด




5. ใส่ถ่านขนาด AA จำนวน 8 ก้อน เข้าที่รางถ่าน แล้วเชื่อมต่อ รางถ่าน + Relay และ หลอดไฟ


ภาพรวมการต่อวงจร



ผลลัพธ์ โปรเจค Arduino เปิดปิดไฟ ด้วย Windows Application


โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

การใช้งาน IR Infrared Obstacle Avoidance Sensor Module

โมดูลเซ็นเซอร์แสงสำหรับตรวจจับวัตถุกีดขวาง   IR Infrared Obstacle Avoidance Sensor Module โมดูลเซ็นเซอร์แสงสำหรับตรวจจับวัตถุกีดขวาง    IR Infrared Obstacle Avoidance Sensor Module โดยโมดูลนี้ จะมีตัวรับและตัวส่ง infrared ในตัว ตัวสัญญาณ(สีขาว) infrared จะส่งสัญญาณออกมา และเมื่อมีวัตถุมาบัง คลื่นสัญญาณ infrared  ที่ถูกสั่งออกมาจะสะท้องกลับไปเข้าตัวรับสัญญาณ (สีดำ) สามารถนำมาใช้ตรวจจับวัตถุที่อยู่ตรงหน้าได้ และสามารถปรับความไว ระยะการตรวจจับ ใกล้หรือไกลได้ ภายตัวเซ็นเซอร์แบบนี้จะมีตัวส่ง Emitter และ ตัวรับ Receiver ติดตั้งภายในตัวเดียวกัน ทำให้ไม่จำเป็นต้องเดินสายไฟทั้งสองฝั่ง เหมือนแบบ Opposed Mode ทำให้การติดตั้งใช้งานได้ง่ายกว่า แต่อย่างไรก็ตามจำเป็นต้องติดตั้งตัวแผ่นสะท้อนหรือ Reflector ไว้ตรงข้ามกับตัวเซ็นเซอร์เอง โดยโฟโต้เซ็นเซอร์แบบที่ใช้แผ่นสะท้อนแบบนี้จะเหมาะสำหรับชิ้นงานที่มีลักษณะทึบแสงไม่เป็นมันวาว เนื่องจากอาจทำให้ตัวเซ็นเซอร์เข้าใจผิดว่าเป็นตัวแผ่นสะท้อน และ ทำให้ทำงานผิดพลาดได้ เซ็นเซอร์แบบนี้จะมีช่วงในการทำงาน หรือ ระยะในการตรวจจับจะได้ใกล้กว่าแบบ O

การติดตั้ง Library ของ DHT Sensor DHT11 , DHT21 , DHT22

การติดตั้ง Library ของ DHT Sensor ไลบรารี DHT ใช้สำหรับในการให้เซ็นเซอร์ DHT  อ่านอุณหภูมิและความชื้นด้วย  Arduino หรือ ESP8266 ได้ คลิกที่นี่เพื่อดาวน์โหลดไลบรารี ของเซ็นเซอร์ DHT https://github.com/adafruit/DHT-sensor-library เปิดโปรแกรม Arduino IDE  ไปที่ Skecth -> Include Library -> Add .ZIP Library... ไปที่ ไลบรารี DHT-sensor-library ที่เรา ดาวน์โหลด มา ตรวจสอบที่ Skecth -> Include Library  จะพบ ไลบรารี DHT sensor library เพิ่มเข้ามาใน Arduino IDE ของเรา ไปที่ Skecth -> Include Library -> Manage Libraries... ไปที่ช่องค้นหา พิมพ์ DHT -> Enter (เพื่อค้นหา DHT sensor library ) เมื่อพบ DHT sensor library แล้ว ให้คลิก More info คลิกที่ Select Vers.. ในตัวอย่าง เลือก Version 1.2.3 คลิก Install คลิก Close เพิ่ม #include <DHT.h> ไปที่ส่วนบนสุดของโค้ด #include <DHT.h> void setup() {   // put your setup code here, to run once: } void loop() {   // put your main

ESP32 #2: การติดตั้ง Arduino core for ESP32 WiFi chip

ในบทความนี้จะเป็นการแนะนำการติดตั้งโปรแกรม Arduino IDE ตั้งแต่ต้น ไปจนถึงการติดตั้งชุดพัฒนา Arduino core for ESP32 WiFi chip และ การตรวจสอบว่าติดตั้งสำเร็จหรือไม่ “Arduino” แต่เดิมเป็นแพลตฟอร์มที่ใช้ในการพัฒนาเฟิร์มแวร์ให้กับบอร์ด Arudino เท่านั้น แต่ภายหลังกลุ่มผู้พัฒนาโปรแกรม Arduino IDE ได้เริ่มรองรับการติดตั้งชุดพัฒนาเฟิร์มแวร์ให้กับบอร์ดอื่น ๆ ด้วย ทำให้บอร์ดอื่น ๆ ที่รองรับการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา C/C++ สามารถเข้ามาใช้โปรแกรม Arduino IDE ในการพัฒนาได้ นอกจากข้อดีของโปรแกรม Arduino IDE แล้ว ชุดไลบารี่ต่าง ๆ ที่ทำมารองรับกับแพลตฟอร์ม Arduino ก็จะสามารถนำมาใช้งานกับบอร์ดอื่น ๆ ได้ด้วย การจะใช้ Arduino core for ESP32 กับ Arduino IDE ได้นั้น มีขั้นตอนดังนี้ คือ 1. ติดตั้งโปรแกรม Arduino (IDE) ลิงค์ดาวโหลด Arduino (IDE)  https://www.arduino.cc/en/Main/Software 2. ติดตั้ง แพลตฟอร์ม ESP32 ในการเริ่มต้นเราจะต้องอัปเดตผู้จัดการบอร์ดด้วย URL ที่กำหนดเอง เปิด Arduino IDE และไปที่ File > Preferences คัดลอก URL ด้านล่างลงใน Additional Board Manager URLs: แล้ว คลิก