ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

โปรเจครถบังคับ Arduino Nano 3.0 ควบคุมด้วย บลูทูธ HC-06


โปรเจครถบังคับ Arduino Nano 3.0 ควบคุมด้วย App Android  อุปกรณ์ที่ต้องใช้ก็คือ

     1. Small 2WD Smart Car Robot Chassis Kits

     2.  Arduino Nano 3.0

     3. Motor Drive Module L298N

     4. Bluetooth HC-06 Slave

     5. สาย Jumper Female to Male ยาว 10cm.

     6. สาย Jumper Female to  Female  ยาว 10cm.
   
     7. สาย Jumper Male to  Male  ยาว 10cm.

     8. รางถ่านแบบ 18650 ใส่ถ่าน 2 ก้อน

     9. แบตเตอรี่ลิเธียม 18650 จำนวน 2 ก้อน

    10. สกรูหัวกลม+น็อตตัวเมีย ขนาด 3มม ยาว 12มม



ประกอบ Small 2WD Smart Car Robot Chassis Kits



ยึด รางถ่านแบบ 18650 แบบ 2 ก้อน



ใช้ สกรูหัวกลม+น็อตตัวเมีย ขนาด 3มม. ยึด Motor Drive Module L298N




ภาพรวมการต่อวงจร




รายละเอียด ขาต่างๆ ของ Arduino Nano 3.0



ต่อสายสีดำจากรางถ่าน เข้า ที่ GND ของ L298N และ และต่อสายสีแดงจากรางถ่าน เข้า ที่ + 12V ของ L298N



เชื่อมต่อ สาย GND ของ L298N ไปที่ (29) GND ของ Arduino Nano 3.0 และ เชื่อมต่อ สาย + 5V ของ L298N ไปที่ (27) + 5V ของ Arduino Nano 3.0



ใช้สาย Jumper Female to Male ยาว 10cm. เชื่อมต่อ จุดเชื่อมต่อ มอเตอร์ ของ L298N ทั้ง 2 ด้าน ไปที่ มอเตอร์ ทั้ง 2 ตัว




การเชื่อมต่อ มอเตอร์ด้านล่าง
 



ภาพรวมการต่อสายระหว่าง  L298N กับ Arduino Nano 3.0




เชื่อมต่อสายระหว่าง  L298N กับ Arduino Nano 3.0
 


เชื่อมต่อสายระหว่าง  Bluetooth HC-06 Slave กับ Arduino Nano 3.0




เชื่อมต่อสาย USB ระหว่าง  คอมพิวเตอร์ กับ Arduino Nano 3.0

  เรียนรู้ การใช้งาน Arduino Nano 3.0 และ การติดตั้งไดรเวอร์

https://robotsiam.blogspot.com/2016/11/arduino-nano-30.html






Upload ซอสโค้ด ด้านล่างเข้าสู่ Arduino Nano 3.0


int izqA = 5;
int izqB = 6;
int derA = 9;
int derB = 10;
int vel = 255; // Velocidad de los motores (0-255)
int estado = 'g'; // inicia detenido

void setup() {
Serial.begin(9600); // inicia el puerto serial para comunicacion con el Bluetooth
pinMode(derA, OUTPUT);
pinMode(derB, OUTPUT);
pinMode(izqA, OUTPUT);
pinMode(izqB, OUTPUT);
}

void loop() {

if(Serial.available()>0){ // lee el bluetooth y almacena en estado
estado = Serial.read();
}
if(estado=='a'){ // Boton desplazar al Frente
analogWrite(derB, 0);
analogWrite(izqB, 0);
analogWrite(derA, vel);
analogWrite(izqA, vel);
}
if(estado=='b'){ // Boton IZQ
analogWrite(derB, 0);
analogWrite(izqB, 0);
analogWrite(derA, 0);
analogWrite(izqA, vel);
}
if(estado=='c'){ // Boton Parar
analogWrite(derB, 0);
analogWrite(izqB, 0);
analogWrite(derA, 0);
analogWrite(izqA, 0);
}
if(estado=='d'){ // Boton DER
analogWrite(derB, 0);
analogWrite(izqB, 0);
analogWrite(izqA, 0);
analogWrite(derA, vel);
}

if(estado=='e'){ // Boton Reversa
analogWrite(derA, 0);
analogWrite(izqA, 0);
analogWrite(derB, vel);
analogWrite(izqB, vel);
}
if (estado =='f'){ // Boton ON se mueve sensando distancia

}
if (estado=='g'){ // Boton OFF, detiene los motores no hace nada
}
}


เลือก Board "Arduino Nano" แล้วจึง Upload



*** ถ้ามีปัญหาในการอัพโหลด ***


การใช้ Arduino IDE เวอร์ชั่นที่ใหม่กว่า ถ้ามีปัญหาในการอัพโหลด ให้ไปที่ Processor แล้วเปลี่ยนไปเลือกเป็น ATmega328P (Old Bootloader)




และถ้ามีปัญหาในการ Upload ตามรูปด้านล่าง






ให้ถอดการเชื่อมต่อ Bluetooth HC-06 ออกก่อน แล้วจึงเชื่อมต่อ Bluetooth HC-06 อีกครั้ง หลังจาก Upload เสร็จแล้ว


เก็บรัดสายให้เรียบร้อย



ใส่ถ่าน 18650 จำนวน 2 ก้อน





ใช้สมาร์ทโฟน Android เปิดบลูทูธ ค้นหาอุปกรณ์ HC-06




ถ้าใช้งานครั้งแรก ให้คีย์ 1234




ดาวน์โหลดและติดตั้ง แอพควบคุมรถบังคับ  Arduino Control Car ที่


https://apkpure.com/arduino-control-car/appinventor.ai_el_profe_garcia.Arduino_Control_Car


ติดตั้งเหมือนแอพทั่วๆไป



หน้าตาโปรแกรม Arduino Control Car



คลิกที่ปุ่ม Bluetooth แล้วคลิกเลือก  HC-06




ก่อนหน้าไฟ LED สีแดง ของ HC-06 จะติดแบบกระพริบอยู่ หลังจากติดต่อได้ไฟจะติดค้างเป็นสีแดงตลอด จากนั้นทดลองควบคุมดู ถ้าทิศทางการเคลื่อนที่ไม่ตรงกับการควบคุบ ให้ตรวจสอบการต่อสายของมอเตอร์ทั้ง 2 ตัว และแก้ไขให้ถูกต้อง

วีดีโอผลลัพธ์การทำงานของ โปรเจครถบังคับ Arduino Nano 3.0 ควบคุมด้วย บลูทูธ HC-06
 

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

การใช้งาน IR Infrared Obstacle Avoidance Sensor Module

โมดูลเซ็นเซอร์แสงสำหรับตรวจจับวัตถุกีดขวาง   IR Infrared Obstacle Avoidance Sensor Module โมดูลเซ็นเซอร์แสงสำหรับตรวจจับวัตถุกีดขวาง    IR Infrared Obstacle Avoidance Sensor Module โดยโมดูลนี้ จะมีตัวรับและตัวส่ง infrared ในตัว ตัวสัญญาณ(สีขาว) infrared จะส่งสัญญาณออกมา และเมื่อมีวัตถุมาบัง คลื่นสัญญาณ infrared  ที่ถูกสั่งออกมาจะสะท้องกลับไปเข้าตัวรับสัญญาณ (สีดำ) สามารถนำมาใช้ตรวจจับวัตถุที่อยู่ตรงหน้าได้ และสามารถปรับความไว ระยะการตรวจจับ ใกล้หรือไกลได้ ภายตัวเซ็นเซอร์แบบนี้จะมีตัวส่ง Emitter และ ตัวรับ Receiver ติดตั้งภายในตัวเดียวกัน ทำให้ไม่จำเป็นต้องเดินสายไฟทั้งสองฝั่ง เหมือนแบบ Opposed Mode ทำให้การติดตั้งใช้งานได้ง่ายกว่า แต่อย่างไรก็ตามจำเป็นต้องติดตั้งตัวแผ่นสะท้อนหรือ Reflector ไว้ตรงข้ามกับตัวเซ็นเซอร์เอง โดยโฟโต้เซ็นเซอร์แบบที่ใช้แผ่นสะท้อนแบบนี้จะเหมาะสำหรับชิ้นงานที่มีลักษณะทึบแสงไม่เป็นมันวาว เนื่องจากอาจทำให้ตัวเซ็นเซอร์เข้าใจผิดว่าเป็นตัวแผ่นสะท้อน และ ทำให้ทำงานผิดพลาดได้ เซ็นเซอร์แบบนี้จะมีช่วงในการทำงาน หรือ ระยะในการตรวจจับจะได้ใกล้กว่าแบบ O

การติดตั้ง Library ของ DHT Sensor DHT11 , DHT21 , DHT22

การติดตั้ง Library ของ DHT Sensor ไลบรารี DHT ใช้สำหรับในการให้เซ็นเซอร์ DHT  อ่านอุณหภูมิและความชื้นด้วย  Arduino หรือ ESP8266 ได้ คลิกที่นี่เพื่อดาวน์โหลดไลบรารี ของเซ็นเซอร์ DHT https://github.com/adafruit/DHT-sensor-library เปิดโปรแกรม Arduino IDE  ไปที่ Skecth -> Include Library -> Add .ZIP Library... ไปที่ ไลบรารี DHT-sensor-library ที่เรา ดาวน์โหลด มา ตรวจสอบที่ Skecth -> Include Library  จะพบ ไลบรารี DHT sensor library เพิ่มเข้ามาใน Arduino IDE ของเรา ไปที่ Skecth -> Include Library -> Manage Libraries... ไปที่ช่องค้นหา พิมพ์ DHT -> Enter (เพื่อค้นหา DHT sensor library ) เมื่อพบ DHT sensor library แล้ว ให้คลิก More info คลิกที่ Select Vers.. ในตัวอย่าง เลือก Version 1.2.3 คลิก Install คลิก Close เพิ่ม #include <DHT.h> ไปที่ส่วนบนสุดของโค้ด #include <DHT.h> void setup() {   // put your setup code here, to run once: } void loop() {   // put your main

ESP32 #2: การติดตั้ง Arduino core for ESP32 WiFi chip

ในบทความนี้จะเป็นการแนะนำการติดตั้งโปรแกรม Arduino IDE ตั้งแต่ต้น ไปจนถึงการติดตั้งชุดพัฒนา Arduino core for ESP32 WiFi chip และ การตรวจสอบว่าติดตั้งสำเร็จหรือไม่ “Arduino” แต่เดิมเป็นแพลตฟอร์มที่ใช้ในการพัฒนาเฟิร์มแวร์ให้กับบอร์ด Arudino เท่านั้น แต่ภายหลังกลุ่มผู้พัฒนาโปรแกรม Arduino IDE ได้เริ่มรองรับการติดตั้งชุดพัฒนาเฟิร์มแวร์ให้กับบอร์ดอื่น ๆ ด้วย ทำให้บอร์ดอื่น ๆ ที่รองรับการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา C/C++ สามารถเข้ามาใช้โปรแกรม Arduino IDE ในการพัฒนาได้ นอกจากข้อดีของโปรแกรม Arduino IDE แล้ว ชุดไลบารี่ต่าง ๆ ที่ทำมารองรับกับแพลตฟอร์ม Arduino ก็จะสามารถนำมาใช้งานกับบอร์ดอื่น ๆ ได้ด้วย การจะใช้ Arduino core for ESP32 กับ Arduino IDE ได้นั้น มีขั้นตอนดังนี้ คือ 1. ติดตั้งโปรแกรม Arduino (IDE) ลิงค์ดาวโหลด Arduino (IDE)  https://www.arduino.cc/en/Main/Software 2. ติดตั้ง แพลตฟอร์ม ESP32 ในการเริ่มต้นเราจะต้องอัปเดตผู้จัดการบอร์ดด้วย URL ที่กำหนดเอง เปิด Arduino IDE และไปที่ File > Preferences คัดลอก URL ด้านล่างลงใน Additional Board Manager URLs: แล้ว คลิก