โปรแกรมนี้ จะควบคุมผ่าน ระบบอินทราเน็ต ที่ใช้ WiFi หรือ วง แลน หรือใช้ เราเตอร์ เดียวกัน เท่านั้น
ก่อนอื่น ให้เชื่อมต่อ ESP8266 ESP-01 กับเราเตอร์ WiFi โดยใช้ ชื่อ WiFi ที่ต้องการเชื่อมต่อ และรหัสผ่าน ของเครือข่าย เมื่อเชื่อมต่อเข้ากับ Router แล้ว ตัว Router จะแจกไอพี (IP Address) มาให้เรา ซึ่งในตัวอย่างคือ 192.168.1.39
หมายเหตุ :
*** ต้องแก้ไข ไอพี ของ ESP8266 ESP-01 ให้ตรงกับที่เราได้รับมาจาก Router ***
ไอพี ที่เราจะใช้ ซึ่งได้มาจาก ตัวอย่างบทความนี้
การใช้งาน ESP8266 ESP-01 Wireless WIFI Module
https://robotsiam.blogspot.com/2017/06/esp8266-esp-01-wireless-wifi-module.html
ในบทความ "การใช้งาน ESP8266 ESP-01 Wireless WIFI Module" เราได้เรียนรู้วิธี การติดต่อสื่อสารกับ ESP8266 ESP-01 และ ชุดคำสั่ง AT ซึ่งในบทความนี้เราจะแสดงวิธีการใช้โมดูล ESP-01 เพื่อให้ สามารถเข้าถึงเครือข่าย Wi-Fi และโต้ตอบกับอินพุตและเอาต์พุต
เมื่อเราได้ ไอพี ของ ESP8266 ESP-01 มาแล้ว เราจึงจะสร้างเว็บเซิร์ฟเวอร์ ซึ่งสามารถ ควบคุมผ่านทาง เว็บเบราเซอร์ ของคอมพิวเตอร์ หรือ สมาร์ทโฟน แอนดรอยด์
อุปกรณ์ที่ใช้
1. Arduino UNO R3 - Made in italy
2. ESP8266 ESP-01 Wireless WIFI Module
3. ไอซีเร็กกูเลเตอร์ LD1117
4. คาปาซิเตอร์ 100 nF
5. คาปาซิเตอร์ 10 uF
6. สาย Jumper Female to Male ยาว 20cm.
7. สาย Jumper Male to Male ยาว 20cm.
8. Prototype PCB Board 4x6 cm Double Sides 2 ชิ้น
9. สกรูหัวกลม+น็อตตัวเมีย ขนาด 3มม ยาว 12มม
10. Relay 1 Channel DC 5V Module
11. SMD LED Lighting G4 AC DC 12V
12. รางถ่าน AA 8 ก้อน
...
การต่อวงจร ระหว่าง ESP8266 ESP-01 กับ Arduino UNO
ESP-01 <--> UNO
VCC <--> 3.3V
GND <--> GND
CH_PD <--> 3.3V
RX <--> D6
TX <--> D7
การต่อวงจร ระหว่าง Relay กับ Arduino UNO
Relay <--> UNO
การต่อวงจร ระหว่าง Relay + LED + รางถ่าน
อัพโหลดโค้ด ไปยัง Arduino UNO
#include <SoftwareSerial.h>
#define TIMEOUT 5000 // mS
#define LED 5
SoftwareSerial mySerial(7, 6); // RX, TX
void setup()
{
pinMode(LED,OUTPUT);
Serial.begin(115200);
mySerial.begin(115200);
SendCommand("AT+RST", "Ready");
delay(5000);
SendCommand("AT+CWMODE=1","OK");
SendCommand("AT+CIFSR", "OK");
SendCommand("AT+CIPMUX=1","OK");
SendCommand("AT+CIPSERVER=1,80","OK");
}
void loop(){
String IncomingString="";
boolean StringReady = false;
while (mySerial.available()){
IncomingString=mySerial.readString();
StringReady= true;
}
if (StringReady){
Serial.println("Received String: " + IncomingString);
if (IncomingString.indexOf("LED=ON") != -1) {
digitalWrite(LED,HIGH);
}
if (IncomingString.indexOf("LED=OFF") != -1) {
digitalWrite(LED,LOW);
}
}
}
boolean SendCommand(String cmd, String ack){
mySerial.println(cmd); // Send "AT+" command to module
if (!echoFind(ack)) // timed out waiting for ack string
return true; // ack blank or ack found
}
boolean echoFind(String keyword){
byte current_char = 0;
byte keyword_length = keyword.length();
long deadline = millis() + TIMEOUT;
while(millis() < deadline){
if (mySerial.available()){
char ch = mySerial.read();
Serial.write(ch);
if (ch == keyword[current_char])
if (++current_char == keyword_length){
Serial.println();
return true;
}
}
}
return false; // Timed out
}
หลังอัพโหลดเสร็จแล้ว ให้ไปที่ Tools -> Serial Monitor
เปิด Serial Monitor ของ Arduino ตั้งค่า baud rate 115200 และปรับช่องในรูปให้เป็น Both NL&CR
รอจนกระทั่งขึ้นคำว่า Received String:
แสดงว่าโปเจคเรา พร้อมทํางาน แล้ว
จากนั้นทดสอบการทำงานของ โปรเจค ESP8266 ESP-01 ปิด เปิด ไฟ LED ด้วย WIFI
เริ่มด้วย เปิด เว็บเบราเซอร์ (web browser) ขึ้นมา
คำสั่ง LED=ON และ LED=OFF ต้องพิมพ์เป็นภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่ เท่านั้น
พิมพ์ http://192.168.1.39/LED=ON
หรือ 192.168.1.39/LED=ON
Enter
ไฟ LED จะติด
พิมพ์ http://192.168.1.39/LED=OFF
หรือ 192.168.1.39/LED=OFF
Enter
ไฟ LED จะดับ
ขั้นตอนการสร้างเว็บเพจ (*** ต้องแก้ไข ไอพี ให้ตรงกับที่เราได้รับมาจาก Router ***)
ไปที่ Play Store ค้นหา : mobile telnet
ติดตั้ง Mobile Telnet App
คลิกที่ สี่เหลี่ยม ด้านบนสุด ขวามือ แล้วคลิกที่ Telnet Settings
ช่อง IP ป้อน : ไอพี ของ ESP8266 ESP-01 เข้าไป
ช่อง Port ป้อน : 80 -> OK
คลิกที่ สี่เหลี่ยม ด้านบนสุด ขวามือ แล้วคลิกที่ Connect
พิมพ์ LED=ON แล้วคลิก Send
ไฟ LED จะติด
ถ้าขณะทดสอบดูที่ Tools -> Serial Monitor
ก่อนอื่น ให้เชื่อมต่อ ESP8266 ESP-01 กับเราเตอร์ WiFi โดยใช้ ชื่อ WiFi ที่ต้องการเชื่อมต่อ และรหัสผ่าน ของเครือข่าย เมื่อเชื่อมต่อเข้ากับ Router แล้ว ตัว Router จะแจกไอพี (IP Address) มาให้เรา ซึ่งในตัวอย่างคือ 192.168.1.39
หมายเหตุ :
*** ต้องแก้ไข ไอพี ของ ESP8266 ESP-01 ให้ตรงกับที่เราได้รับมาจาก Router ***
ไอพี ที่เราจะใช้ ซึ่งได้มาจาก ตัวอย่างบทความนี้
การใช้งาน ESP8266 ESP-01 Wireless WIFI Module
https://robotsiam.blogspot.com/2017/06/esp8266-esp-01-wireless-wifi-module.html
ในบทความ "การใช้งาน ESP8266 ESP-01 Wireless WIFI Module" เราได้เรียนรู้วิธี การติดต่อสื่อสารกับ ESP8266 ESP-01 และ ชุดคำสั่ง AT ซึ่งในบทความนี้เราจะแสดงวิธีการใช้โมดูล ESP-01 เพื่อให้ สามารถเข้าถึงเครือข่าย Wi-Fi และโต้ตอบกับอินพุตและเอาต์พุต
เมื่อเราได้ ไอพี ของ ESP8266 ESP-01 มาแล้ว เราจึงจะสร้างเว็บเซิร์ฟเวอร์ ซึ่งสามารถ ควบคุมผ่านทาง เว็บเบราเซอร์ ของคอมพิวเตอร์ หรือ สมาร์ทโฟน แอนดรอยด์
อุปกรณ์ที่ใช้
1. Arduino UNO R3 - Made in italy
2. ESP8266 ESP-01 Wireless WIFI Module
3. ไอซีเร็กกูเลเตอร์ LD1117
4. คาปาซิเตอร์ 100 nF
5. คาปาซิเตอร์ 10 uF
6. สาย Jumper Female to Male ยาว 20cm.
7. สาย Jumper Male to Male ยาว 20cm.
8. Prototype PCB Board 4x6 cm Double Sides 2 ชิ้น
9. สกรูหัวกลม+น็อตตัวเมีย ขนาด 3มม ยาว 12มม
10. Relay 1 Channel DC 5V Module
11. SMD LED Lighting G4 AC DC 12V
12. รางถ่าน AA 8 ก้อน
...
การต่อวงจร ระหว่าง ESP8266 ESP-01 กับ Arduino UNO
ESP-01 <--> UNO
VCC <--> 3.3V
GND <--> GND
CH_PD <--> 3.3V
RX <--> D6
TX <--> D7
การต่อวงจร ระหว่าง Relay กับ Arduino UNO
Relay <--> UNO
5V <--> 5V
GND <--> GND
IN <--> D5
GND <--> GND
IN <--> D5
อัพโหลดโค้ด ไปยัง Arduino UNO
#include <SoftwareSerial.h>
#define TIMEOUT 5000 // mS
#define LED 5
SoftwareSerial mySerial(7, 6); // RX, TX
void setup()
{
pinMode(LED,OUTPUT);
Serial.begin(115200);
mySerial.begin(115200);
SendCommand("AT+RST", "Ready");
delay(5000);
SendCommand("AT+CWMODE=1","OK");
SendCommand("AT+CIFSR", "OK");
SendCommand("AT+CIPMUX=1","OK");
SendCommand("AT+CIPSERVER=1,80","OK");
}
void loop(){
String IncomingString="";
boolean StringReady = false;
while (mySerial.available()){
IncomingString=mySerial.readString();
StringReady= true;
}
if (StringReady){
Serial.println("Received String: " + IncomingString);
if (IncomingString.indexOf("LED=ON") != -1) {
digitalWrite(LED,HIGH);
}
if (IncomingString.indexOf("LED=OFF") != -1) {
digitalWrite(LED,LOW);
}
}
}
boolean SendCommand(String cmd, String ack){
mySerial.println(cmd); // Send "AT+" command to module
if (!echoFind(ack)) // timed out waiting for ack string
return true; // ack blank or ack found
}
boolean echoFind(String keyword){
byte current_char = 0;
byte keyword_length = keyword.length();
long deadline = millis() + TIMEOUT;
while(millis() < deadline){
if (mySerial.available()){
char ch = mySerial.read();
Serial.write(ch);
if (ch == keyword[current_char])
if (++current_char == keyword_length){
Serial.println();
return true;
}
}
}
return false; // Timed out
}
หลังอัพโหลดเสร็จแล้ว ให้ไปที่ Tools -> Serial Monitor
เปิด Serial Monitor ของ Arduino ตั้งค่า baud rate 115200 และปรับช่องในรูปให้เป็น Both NL&CR
รอจนกระทั่งขึ้นคำว่า Received String:
แสดงว่าโปเจคเรา พร้อมทํางาน แล้ว
จากนั้นทดสอบการทำงานของ โปรเจค ESP8266 ESP-01 ปิด เปิด ไฟ LED ด้วย WIFI
วิธีที่ 1 ทดสอบโดย เว็บเบราเซอร์ (web browser)
เริ่มด้วย เปิด เว็บเบราเซอร์ (web browser) ขึ้นมา
คำสั่ง LED=ON และ LED=OFF ต้องพิมพ์เป็นภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่ เท่านั้น
พิมพ์ http://192.168.1.39/LED=ON
หรือ 192.168.1.39/LED=ON
Enter
ไฟ LED จะติด
พิมพ์ http://192.168.1.39/LED=OFF
หรือ 192.168.1.39/LED=OFF
Enter
ไฟ LED จะดับ
วิธีที่ 2 ทดสอบโดย เว็บเพจ (web page)
ขั้นตอนการสร้างเว็บเพจ (*** ต้องแก้ไข ไอพี ให้ตรงกับที่เราได้รับมาจาก Router ***)
คลิกที่ปุ่ม ON ไฟ LED จะติด และ คลิกที่ปุ่ม OFF ไฟ LED จะดับ
วิธีที่ 3 ทดสอบโดย แอพแอนดรอยด์ (Android App)
ไปที่ Play Store ค้นหา : mobile telnet
ติดตั้ง Mobile Telnet App
คลิกที่ สี่เหลี่ยม ด้านบนสุด ขวามือ แล้วคลิกที่ Telnet Settings
ช่อง IP ป้อน : ไอพี ของ ESP8266 ESP-01 เข้าไป
ช่อง Port ป้อน : 80 -> OK
คลิกที่ สี่เหลี่ยม ด้านบนสุด ขวามือ แล้วคลิกที่ Connect
รอสักครู่..
พิมพ์ LED=ON แล้วคลิก Send
ไฟ LED จะติด
พิมพ์ LED=OFF แล้วคลิก Send
ไฟ LED จะดับ
ไฟ LED จะดับ
ถ้าขณะทดสอบดูที่ Tools -> Serial Monitor