ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

โปรเจค NodeMCU V3 กับ DHT22 แสดงอุณหภูมิและความชื้น


ในโปรเจคนี้เราจะสร้างเว็บเซิร์ฟเวอร์ ESP8266 โดยใช้ NodeMCU V3 กับ เซ็นเซอร์  DHT22 แสดงอุณหภูมิและความชื้น


อุปกรณ์ที่ใช้



1. NodeMCU V3 CH340G Lua WIFI ESP8266 ESP-12E

2. Micro USB Cable Wire 1m for NodeMCU

3. DHT22/AM2302 เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิและความชื้น

4. รีซิสเตอร์ 4.7K Ohm 1/4W 5%

5.  Breadboard 8.5CM x 5.5CM 400 holes (โฟโต้บอร์ด) จำนวน 2 ชิ้น

6. Jumper (M2M) cable 10 cm

7. รางถ่าน AA 6 ก้อน 9 โวลต์

8. แผ่นอะคริลิคใส ขนาด 10 x 12.5 เซนติเมตร



1. ประกอบ วงจร



ประกอบ  Breadboard 2 ชิ้น ลงบน แผ่นอะคริลิคใส ขนาด 10 x 12.5 เซนติเมตร
และ ประกอบ  NodeMCU V3 ลงบน Breadboard 





ประกอบวงจรตามรูป






เชื่อมต่อรางถ่าน เข้ากับ Breadboard




โดยสายสีแดง ไฟ+ ไปยังขา VIN ของ NodeMCU V3 และ สายสีดำ ไฟ- ไปยัง กราวด์ (GND) ของ Breadboard






2. ตรวจสอบการติดตั้งไดร์เวอร์ ของ NodeMCU V3 



เสียบสาย USB จากคอมพิวเตอร์ เข้ากับ NodeMCU V3





ตรวจสอบการติดตั้งไดร์เวอร์ ของ NodeMCU V3

โดย 
คลิกขวา Computet -> Properties






คลิกที่ Device Manager



ที่ Ports (COM & LPT) จะพบ 
ไดร์เวอร์ ของ NodeMCU V3

ในตัวอย่างเป็น USB -SERIAL CH340 (COM8)




(ถ้าไม่พบให้ทำการติดตั้งไดร์เวอร์ก่อน) 

ตัวอย่างการติดตั้งไดร์เวอร์ ชิฟ CH340G



3. ติดตั้ง แพลตฟอร์ม ESP8266


การจะใช้ NodeMCU ได้นั้น จำเป็นต้องติดตั้ง แพลตฟอร์ม ESP8266  เพื่อ ทำการติดต่อ ระหว่าง Arduino IDE กับ NodeMCU


ลิงค์ : ขั้นตอนการติดตั้ง แพลตฟอร์ม ESP8266


https://robotsiam.blogspot.com/2017/06/esp8266-platform-nodemcu.html



4. ติดตั้ง Library ของ DHT Sensor


การจะใช้ DHT22/AM2302 เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิและความชื้น ได้นั้น จำเป็นต้องติดตั้ง ไลบรารี DHT เพิ่มเข้าไปยัง Arduino IDE ของเรา


ลิงค์ : การติดตั้ง Library ของ DHT Sensor


5. อัพโหลด โค้ด


การกำหนดชื่อ Pin  นั้น  สามารถใช้ได้ 2 แบบ คือ แบบที่ 1 จะ อ้างตามชื่อ Pin บนบอร์ด NodeMCU  V3 เป็น D1 หรือ แบบที่ 2 เป็นการเทียบขา ตามรูปด้านล่าง โดยเลือกใช้ Pin เป็น  5  ก็ได้เช่นกัน




เสียบสาย USB จากคอมพิวเตอร์ เข้ากับ NodeMCU V3






เปิดโปรแกรม Arduino IDE ก๊อบปี้ โค้ด ด้านล่างไปยัง โปรแกรม ของ Arduino IDE


// Including the ESP8266 WiFi library
#include <ESP8266WiFi.h>
#include "DHT.h"

// Uncomment one of the lines below for whatever DHT sensor type you're using!
//#define DHTTYPE DHT11   // DHT 11
//#define DHTTYPE DHT21   // DHT 21 (AM2301)
#define DHTTYPE DHT22   // DHT 22  (AM2302), AM2321

// Replace with your network details
const char* ssid = "YOUR_NETWORK_NAME";
const char* password = "YOUR_NETWORK_PASSWORD";

// Web Server on port 80
WiFiServer server(80);

// DHT Sensor
const int DHTPin = 5; // D1
// Initialize DHT sensor.
DHT dht(DHTPin, DHTTYPE);

// Temporary variables
static char celsiusTemp[7];
static char fahrenheitTemp[7];
static char humidityTemp[7];

// only runs once on boot
void setup() {
  // Initializing serial port for debugging purposes
  Serial.begin(115200);
  delay(10);

  dht.begin();
  
  // Connecting to WiFi network
  Serial.println();
  Serial.print("Connecting to ");
  Serial.println(ssid);
  
  WiFi.begin(ssid, password);
  
  while (WiFi.status() != WL_CONNECTED) {
    delay(500);
    Serial.print(".");
  }
  Serial.println("");
  Serial.println("WiFi connected");
  
  // Starting the web server
  server.begin();
  Serial.println("Web server running. Waiting for the ESP IP...");
  delay(10000);
  
  // Printing the ESP IP address
  Serial.println(WiFi.localIP());
}

// runs over and over again
void loop() {
  // Listenning for new clients
  WiFiClient client = server.available();
  
  if (client) {
    Serial.println("New client");
    // bolean to locate when the http request ends
    boolean blank_line = true;
    while (client.connected()) {
      if (client.available()) {
        char c = client.read();
        
        if (c == '\n' && blank_line) {
            // Sensor readings may also be up to 2 seconds 'old' (its a very slow sensor)
            float h = dht.readHumidity();
            // Read temperature as Celsius (the default)
            float t = dht.readTemperature();
            // Read temperature as Fahrenheit (isFahrenheit = true)
            float f = dht.readTemperature(true);
            // Check if any reads failed and exit early (to try again).
            if (isnan(h) || isnan(t) || isnan(f)) {
              Serial.println("Failed to read from DHT sensor!");
              strcpy(celsiusTemp,"Failed");
              strcpy(fahrenheitTemp, "Failed");
              strcpy(humidityTemp, "Failed");         
            }
            else{
              // Computes temperature values in Celsius + Fahrenheit and Humidity
              float hic = dht.computeHeatIndex(t, h, false);       
              dtostrf(hic, 6, 2, celsiusTemp);             
              float hif = dht.computeHeatIndex(f, h);
              dtostrf(hif, 6, 2, fahrenheitTemp);         
              dtostrf(h, 6, 2, humidityTemp);
              // You can delete the following Serial.print's, it's just for debugging purposes
              Serial.print("Humidity: ");
              Serial.print(h);
              Serial.print(" %\t Temperature: ");
              Serial.print(t);
              Serial.print(" *C ");
              Serial.print(f);
              Serial.print(" *F\t Heat index: ");
              Serial.print(hic);
              Serial.print(" *C ");
              Serial.print(hif);
              Serial.print(" *F");
              Serial.print("Humidity: ");
              Serial.print(h);
              Serial.print(" %\t Temperature: ");
              Serial.print(t);
              Serial.print(" *C ");
              Serial.print(f);
              Serial.print(" *F\t Heat index: ");
              Serial.print(hic);
              Serial.print(" *C ");
              Serial.print(hif);
              Serial.println(" *F");
            }
            client.println("HTTP/1.1 200 OK");
            client.println("Content-Type: text/html");
            client.println("Connection: close");
            client.println();
            // your actual web page that displays temperature and humidity
            client.println("<!DOCTYPE HTML>");
            client.println("<html>");
            client.println("<head></head><body><h1>RobotSiam - Temperature and Humidity</h1><h3>Temperature in Celsius: ");
            client.println(celsiusTemp);
            client.println("*C</h3><h3>Temperature in Fahrenheit: ");
            client.println(fahrenheitTemp);
            client.println("*F</h3><h3>Humidity: ");
            client.println(humidityTemp);
            client.println("%</h3><h3>");
            client.println("</body></html>");     
            break;
        }
        if (c == '\n') {
          // when starts reading a new line
          blank_line = true;
        }
        else if (c != '\r') {
          // when finds a character on the current line
          blank_line = false;
        }
      }
    }  
    // closing the client connection
    delay(1);
    client.stop();
    Serial.println("Client disconnected.");
  }
}   



ก่อนการอัพโหลดต้องแก้ไขโค้ด ตรงสีแดงให้ถูกต้องก่อน โดย

ssid = "ชื่อwifiที่ต้องการเชื่อมต่อ"
password =  "รหัสผ่าน"



เลือก Port ในตัวอย่างเป็น "COM8"



เลือก Board : NodeMCU 1.0 (ESP-12E Module)




อัพโหลด.... (ควรต่อไฟเข้า 9 
โวลต์ ที่ขา VIN และ GND  ขณะอัพโหลดด้วย)



รอจนกระทั่ง Done uploading. 100%



ไปที่ Serial Monitor





เลือก Both NL & CR และ เลือก 115200 baud




กดปุ่ม RST (อยู่ด้านล่างซ้ายมือ) 1 ครั้ง





Serial Monitor จะแสดง ไอพี ของ NodeMCU V3 ในตัวอย่างคือ 192.168.1.40



ไปที่ บราวเซอร์ ที่ URL ป้อน 192.168.1.40 ที่ได้จาก Serial Monitor ด้านบน

(ไอพีที่ได้แต่ละครั้งอาจจะไม่เหมือนกัน ให้ตรวจสอบทุกครั้ง)




เมื่อกลับไปดูที่ Serial Monitor จะ แสดงอุณหภูมิและความชื้น เพิ่มเข้ามา แสดงว่าโปรเจคของเรานั้นพร้อมทำงานแล้ว





6. ทดสอบการทำงานของโปรเจค


ถอด
สาย USB จากคอมพิวเตอร์ ออกจาก NodeMCU V3



ไปที่ บราวเซอร์ ที่ URL ป้อน 192.168.1.40 ที่ได้จาก Serial Monitor ด้านบน 

ใช้ ไดร์เป่าผม เป่าลมร้อน ไปที่ DHT22  กด F5 หรือ refresh บราวเซอร์ จะแสดง อุณหภูมิ ที่เพิ่มขึ้น และ เมื่อเปลี่ยนมาเป่าลมเย็น กด F5 หรือ refresh บราวเซอร์ ก็จะแสดง อุณหภูมิ ที่ลดลง 




วีดีโอผลลัพธ์การทำงานของ โปรเจค NodeMCU V3 กับ DHT22 แสดงอุณหภูมิและความชื้น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

การใช้งาน IR Infrared Obstacle Avoidance Sensor Module

โมดูลเซ็นเซอร์แสงสำหรับตรวจจับวัตถุกีดขวาง   IR Infrared Obstacle Avoidance Sensor Module โมดูลเซ็นเซอร์แสงสำหรับตรวจจับวัตถุกีดขวาง    IR Infrared Obstacle Avoidance Sensor Module โดยโมดูลนี้ จะมีตัวรับและตัวส่ง infrared ในตัว ตัวสัญญาณ(สีขาว) infrared จะส่งสัญญาณออกมา และเมื่อมีวัตถุมาบัง คลื่นสัญญาณ infrared  ที่ถูกสั่งออกมาจะสะท้องกลับไปเข้าตัวรับสัญญาณ (สีดำ) สามารถนำมาใช้ตรวจจับวัตถุที่อยู่ตรงหน้าได้ และสามารถปรับความไว ระยะการตรวจจับ ใกล้หรือไกลได้ ภายตัวเซ็นเซอร์แบบนี้จะมีตัวส่ง Emitter และ ตัวรับ Receiver ติดตั้งภายในตัวเดียวกัน ทำให้ไม่จำเป็นต้องเดินสายไฟทั้งสองฝั่ง เหมือนแบบ Opposed Mode ทำให้การติดตั้งใช้งานได้ง่ายกว่า แต่อย่างไรก็ตามจำเป็นต้องติดตั้งตัวแผ่นสะท้อนหรือ Reflector ไว้ตรงข้ามกับตัวเซ็นเซอร์เอง โดยโฟโต้เซ็นเซอร์แบบที่ใช้แผ่นสะท้อนแบบนี้จะเหมาะสำหรับชิ้นงานที่มีลักษณะทึบแสงไม่เป็นมันวาว เนื่องจากอาจทำให้ตัวเซ็นเซอร์เข้าใจผิดว่าเป็นตัวแผ่นสะท้อน และ ทำให้ทำงานผิดพลาดได้ เซ็นเซอร์แบบนี้จะมีช่วงในการทำงาน หรือ ระยะในการตรวจจับจะได้ใกล้กว่าแบบ O

การติดตั้ง Library ของ DHT Sensor DHT11 , DHT21 , DHT22

การติดตั้ง Library ของ DHT Sensor ไลบรารี DHT ใช้สำหรับในการให้เซ็นเซอร์ DHT  อ่านอุณหภูมิและความชื้นด้วย  Arduino หรือ ESP8266 ได้ คลิกที่นี่เพื่อดาวน์โหลดไลบรารี ของเซ็นเซอร์ DHT https://github.com/adafruit/DHT-sensor-library เปิดโปรแกรม Arduino IDE  ไปที่ Skecth -> Include Library -> Add .ZIP Library... ไปที่ ไลบรารี DHT-sensor-library ที่เรา ดาวน์โหลด มา ตรวจสอบที่ Skecth -> Include Library  จะพบ ไลบรารี DHT sensor library เพิ่มเข้ามาใน Arduino IDE ของเรา ไปที่ Skecth -> Include Library -> Manage Libraries... ไปที่ช่องค้นหา พิมพ์ DHT -> Enter (เพื่อค้นหา DHT sensor library ) เมื่อพบ DHT sensor library แล้ว ให้คลิก More info คลิกที่ Select Vers.. ในตัวอย่าง เลือก Version 1.2.3 คลิก Install คลิก Close เพิ่ม #include <DHT.h> ไปที่ส่วนบนสุดของโค้ด #include <DHT.h> void setup() {   // put your setup code here, to run once: } void loop() {   // put your main

ESP32 #2: การติดตั้ง Arduino core for ESP32 WiFi chip

ในบทความนี้จะเป็นการแนะนำการติดตั้งโปรแกรม Arduino IDE ตั้งแต่ต้น ไปจนถึงการติดตั้งชุดพัฒนา Arduino core for ESP32 WiFi chip และ การตรวจสอบว่าติดตั้งสำเร็จหรือไม่ “Arduino” แต่เดิมเป็นแพลตฟอร์มที่ใช้ในการพัฒนาเฟิร์มแวร์ให้กับบอร์ด Arudino เท่านั้น แต่ภายหลังกลุ่มผู้พัฒนาโปรแกรม Arduino IDE ได้เริ่มรองรับการติดตั้งชุดพัฒนาเฟิร์มแวร์ให้กับบอร์ดอื่น ๆ ด้วย ทำให้บอร์ดอื่น ๆ ที่รองรับการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา C/C++ สามารถเข้ามาใช้โปรแกรม Arduino IDE ในการพัฒนาได้ นอกจากข้อดีของโปรแกรม Arduino IDE แล้ว ชุดไลบารี่ต่าง ๆ ที่ทำมารองรับกับแพลตฟอร์ม Arduino ก็จะสามารถนำมาใช้งานกับบอร์ดอื่น ๆ ได้ด้วย การจะใช้ Arduino core for ESP32 กับ Arduino IDE ได้นั้น มีขั้นตอนดังนี้ คือ 1. ติดตั้งโปรแกรม Arduino (IDE) ลิงค์ดาวโหลด Arduino (IDE)  https://www.arduino.cc/en/Main/Software 2. ติดตั้ง แพลตฟอร์ม ESP32 ในการเริ่มต้นเราจะต้องอัปเดตผู้จัดการบอร์ดด้วย URL ที่กำหนดเอง เปิด Arduino IDE และไปที่ File > Preferences คัดลอก URL ด้านล่างลงใน Additional Board Manager URLs: แล้ว คลิก