ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

การเขียน แอพแอนดรอยด์ ควบคุมรถบังคับ ด้วย App Inventor

ในส่วนนี้เป็น การสร้างแอพโดยที่ไม่ต้องเขียนโปรแกรม  แต่ความสามารถก็ไม่น้อยหน้าในการเขียนโปรแกรม เป็นลักษณะของการลาก วาง Blocks ชุดคำสั่งคล้ายกับการต่อจิกซอว์ เรียกให้เป็นทางการว่า Block Programming

เมื่อเรารู้จักส่วนของ Designer แล้ว เราจะมาทำความรู้จักส่วนของ Blocks ซึ่งจะเป็นส่วนของการที่จะบอกให้แอพของที่เราจะสร้างนั้น มีกระบวนการทำงานอย่างไร เช่นหลักจากที่ กดคลิกที่ปุ่มแล้วให้ทำอะไร แล้วแสดงผลหน้าจออย่างไร เป็นต้น

เริ่มต้นด้วยการ คลิกที่ ปุ่ม Blocks ด้านบนสุด ขวามือ


คลิกที่ ListPicker1 ลากบล็อก when ListPicker1.BeforePicking ไปวางไว้ที่ Viewer





.
ลากบล็อก set ListPicker1.Elements ไปวางไว้ที่ Viewer
คลิกที่ BluetoothClient1 ลากบล็อก when BluetoothClient1.AddressAndName ไปวางต่อท้ายกับ when ListPicker1.BeforePicking




ต่อเพิ่มเติมตามรูป

คลิกที่ Text เลือกเครื่องหมายคำพูด



ต่อเพิ่มเติมตามรูป



เสร็จแล้วครับ สำหรับ แอพแอนดรอยด์ ควบคุมรถบังคับ RC_Car ของเรา


จากนั้น ไปที่ Build -> App (provide) QR code for .apk) จะได้ QR code ของโปรแกรม RC_Car

ให้ใช้ สมาร์ทโฟน ของเรา สแกน QR code เพื่อ ดาวน์โหลด โปรแกรม RC_Car เข้าสู่ สมาร์ทโฟน ของเรา
 



หรือ ดาวน์โหลด ไฟล์:  RC_Car.apk

ติดตั้งให้เรียบร้อย เราจะมาทดสอบ กับ โปรเจครถบังคับ ขับเคลื่อน 2 ล้อ Arduino กับ แอพแอนดรอยด์ ของเรา ที่ได้สร้างมาก่อนหน้านี้

ลิงค์ http://robotsiam.blogspot.com/2016/08/l298n-arduino-uno-r3-car-with-android.html


 สมมติฐาน ว่า รถบังคับเราพร้อมทำงานแล้ว ให้เปิดโปรแกรม RC_Car แล้ว คลิกที่ Bluetooth Search




จะแสดง Bluetooth ให้เลือก



เลือก HC-05



เมื่อทดลอง บังคับ

อธิบายการทำงานของโปรแกรมได้ดังนี้

เมื่อคลิก But_Forward แอนดรอยด์ จะส่ง อักษร "F" ออกไป
รถบังคับ Arduino รับคำสั่ง "F" มอเตอร์ทั้งด้านซ้าย-ขวา จะหมุน

    case 'F':

      analogWrite(speedPinA, 500);

      analogWrite(speedPinB, 500);
      digitalWrite(dir1PinA, LOW);
      digitalWrite(dir1PinB, HIGH);
      digitalWrite(dir2PinA, HIGH);
      digitalWrite(dir2PinB, LOW);
      Serial.println("Motor 1 Forward");
      Serial.println("Motor 2 Forward");

เมื่อคลิก But_Stop แอนดรอยด์ จะส่ง อักษร "S" ออกไป
รถบังคับ Arduino รับคำสั่ง "S" มอเตอร์ทั้งด้านซ้าย-ขวา จะหยุด

    case 'S': 

      analogWrite(speedPinA, 0);

      digitalWrite(dir1PinA, LOW);
      digitalWrite(dir2PinA, HIGH);
      Serial.println("Motor 1 Stop");
      analogWrite(speedPinB, 0);
      digitalWrite(dir1PinB, LOW);
      digitalWrite(dir2PinB, HIGH);
      Serial.println("Motor 2 Stop");

เมื่อคลิก But_Back แอนดรอยด์ จะส่ง อักษร "B" ออกไป
รถบังคับ Arduino รับคำสั่ง "B" มอเตอร์ทั้งด้านซ้าย-ขวา จะหมุนกลับหลัง

    case 'B':

      analogWrite(speedPinA, 500);

      digitalWrite(dir1PinA, HIGH);
      digitalWrite(dir2PinA, LOW);
      Serial.println("Motor 1 Back");
      analogWrite(speedPinB, 500);
      digitalWrite(dir1PinB, LOW);
      digitalWrite(dir2PinB, HIGH);
      Serial.println("Motor 2 Back");


เมื่อคลิก But_Left แอนดรอยด์ จะส่ง อักษร "L" ออกไป
รถบังคับ Arduino รับคำสั่ง "L" มอเตอร์ด้านซ้าย จะหมุน ข้างเดียว

    case 'L':

      analogWrite(speedPinA, 0);

      digitalWrite(dir1PinA, LOW);
      digitalWrite(dir2PinA, HIGH);
      Serial.println("Motor 1 Left");
      analogWrite(speedPinB, 500);
      digitalWrite(dir1PinB, HIGH);
      digitalWrite(dir2PinB, LOW);
      Serial.println("Motor 2 Left");


เมื่อคลิก But_Right แอนดรอยด์ จะส่ง อักษร "R" ออกไป
รถบังคับ Arduino รับคำสั่ง "R" มอเตอร์ด้านขวา จะหมุน ข้างเดียว

      analogWrite(speedPinA, 500);
      digitalWrite(dir1PinA, LOW);
      digitalWrite(dir2PinA, HIGH);
      Serial.println("Motor 1 Right");
      analogWrite(speedPinB, 0);
      digitalWrite(dir1PinB, LOW);
      digitalWrite(dir2PinB, HIGH);
      Serial.println("Motor 2 Right");


หมายเหตุ : สังเกตุ แอพ RC_Car  ของเรา ควบคุมรถบังคับ ได้ไม่สมบูรณ์ เพราะออกแบบมาเพื่อเรียนรู้และ ทำความเข้าใจการทำงาน ระหว่าง แอพแอนดรอยด์ กับ รถบังคับ Arduino ของเราเท่านั้น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

การใช้งาน IR Infrared Obstacle Avoidance Sensor Module

โมดูลเซ็นเซอร์แสงสำหรับตรวจจับวัตถุกีดขวาง   IR Infrared Obstacle Avoidance Sensor Module โมดูลเซ็นเซอร์แสงสำหรับตรวจจับวัตถุกีดขวาง    IR Infrared Obstacle Avoidance Sensor Module โดยโมดูลนี้ จะมีตัวรับและตัวส่ง infrared ในตัว ตัวสัญญาณ(สีขาว) infrared จะส่งสัญญาณออกมา และเมื่อมีวัตถุมาบัง คลื่นสัญญาณ infrared  ที่ถูกสั่งออกมาจะสะท้องกลับไปเข้าตัวรับสัญญาณ (สีดำ) สามารถนำมาใช้ตรวจจับวัตถุที่อยู่ตรงหน้าได้ และสามารถปรับความไว ระยะการตรวจจับ ใกล้หรือไกลได้ ภายตัวเซ็นเซอร์แบบนี้จะมีตัวส่ง Emitter และ ตัวรับ Receiver ติดตั้งภายในตัวเดียวกัน ทำให้ไม่จำเป็นต้องเดินสายไฟทั้งสองฝั่ง เหมือนแบบ Opposed Mode ทำให้การติดตั้งใช้งานได้ง่ายกว่า แต่อย่างไรก็ตามจำเป็นต้องติดตั้งตัวแผ่นสะท้อนหรือ Reflector ไว้ตรงข้ามกับตัวเซ็นเซอร์เอง โดยโฟโต้เซ็นเซอร์แบบที่ใช้แผ่นสะท้อนแบบนี้จะเหมาะสำหรับชิ้นงานที่มีลักษณะทึบแสงไม่เป็นมันวาว เนื่องจากอาจทำให้ตัวเซ็นเซอร์เข้าใจผิดว่าเป็นตัวแผ่นสะท้อน และ ทำให้ทำงานผิดพลาดได้ เซ็นเซอร์แบบนี้จะมีช่วงในการทำงาน หรือ ระยะในการตรวจจั...

การติดตั้ง Library ของ DHT Sensor DHT11 , DHT21 , DHT22

การติดตั้ง Library ของ DHT Sensor ไลบรารี DHT ใช้สำหรับในการให้เซ็นเซอร์ DHT  อ่านอุณหภูมิและความชื้นด้วย  Arduino หรือ ESP8266 ได้ คลิกที่นี่เพื่อดาวน์โหลดไลบรารี ของเซ็นเซอร์ DHT https://github.com/adafruit/DHT-sensor-library เปิดโปรแกรม Arduino IDE  ไปที่ Skecth -> Include Library -> Add .ZIP Library... ไปที่ ไลบรารี DHT-sensor-library ที่เรา ดาวน์โหลด มา ตรวจสอบที่ Skecth -> Include Library  จะพบ ไลบรารี DHT sensor library เพิ่มเข้ามาใน Arduino IDE ของเรา ไปที่ Skecth -> Include Library -> Manage Libraries... ไปที่ช่องค้นหา พิมพ์ DHT -> Enter (เพื่อค้นหา DHT sensor library ) เมื่อพบ DHT sensor library แล้ว ให้คลิก More info คลิกที่ Select Vers.. ในตัวอย่าง เลือก Version 1.2.3 คลิก Install คลิก Close เพิ่ม #include <DHT.h> ไปที่ส่วนบนสุดของโค้ด #include <DHT.h> void setup() {   // put your setup code here, to run once: }...

ESP32 #2: การติดตั้ง Arduino core for ESP32 WiFi chip

ในบทความนี้จะเป็นการแนะนำการติดตั้งโปรแกรม Arduino IDE ตั้งแต่ต้น ไปจนถึงการติดตั้งชุดพัฒนา Arduino core for ESP32 WiFi chip และ การตรวจสอบว่าติดตั้งสำเร็จหรือไม่ “Arduino” แต่เดิมเป็นแพลตฟอร์มที่ใช้ในการพัฒนาเฟิร์มแวร์ให้กับบอร์ด Arudino เท่านั้น แต่ภายหลังกลุ่มผู้พัฒนาโปรแกรม Arduino IDE ได้เริ่มรองรับการติดตั้งชุดพัฒนาเฟิร์มแวร์ให้กับบอร์ดอื่น ๆ ด้วย ทำให้บอร์ดอื่น ๆ ที่รองรับการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา C/C++ สามารถเข้ามาใช้โปรแกรม Arduino IDE ในการพัฒนาได้ นอกจากข้อดีของโปรแกรม Arduino IDE แล้ว ชุดไลบารี่ต่าง ๆ ที่ทำมารองรับกับแพลตฟอร์ม Arduino ก็จะสามารถนำมาใช้งานกับบอร์ดอื่น ๆ ได้ด้วย การจะใช้ Arduino core for ESP32 กับ Arduino IDE ได้นั้น มีขั้นตอนดังนี้ คือ 1. ติดตั้งโปรแกรม Arduino (IDE) ลิงค์ดาวโหลด Arduino (IDE)  https://www.arduino.cc/en/Main/Software 2. ติดตั้ง แพลตฟอร์ม ESP32 ในการเริ่มต้นเราจะต้องอัปเดตผู้จัดการบอร์ดด้วย URL ที่กำหนดเอง เปิด Arduino IDE และไปที่ File > Preferences คัดลอก URL ด้านล่างลงใน Additional Board Manager URLs: แ...